ʴ ؤŷ

ʴз

This section allows you to view all posts made by this member. Note that you can only see posts made in areas you currently have access to.


Messages - jangna097narak

˹: 1 ... 136 137 [138]
2056
Other Products Marketplace: ͧ͢Թҷ / 5 ͧ-ô͹͹
« : ѹҤ 04, 2017, 09:05:17 AM »


ҡҨй͹Ѻԧ Ѻ仡µǡҨ ҹ˹ѧ͡ ٫ 觹͹Ѻ仡ѹ˭ سҨ˵طس͹Ѻúҧ ´? 觹͹͵͹Ǥ? Ҩ÷ҹͪǧ繷ҹ ੾ͧ͹͹ 觼ŵкù͹ͧسҡҷسԴ

ͧҧԴǨЪѺʺ Ѻ¢ ͧաªԴա§蹡ѹ

ͧ͹Ѻ¢

   

շԻ࿹ 繡ô⹷ѧⷹԹ Ҽ͹ Ŵ֧´ ͹Ѻʺҡ觢 ѧҡ͹ سͤسҹ͹¹ 1 ͧش ö͡駹 йͧ 㨪ͺ

Tips : ͡繹 ֡͹Ѻʺ¡ҹ ͡״ ա§ӵѺҧ繡͹͹ Фçѹѧ

    Ҥ

繪 繪ҷ͡ķЧѺҷ Ъ¼͹¨Ե֡ʺ й͹Ѻ¢ 繼Ҩҡõҹ͹ flavonoid apigenin 㹪ҹͧ

    ٷҡѡ٧

ǹ㹡ü͹¡͵ǹҧ ͧҧ ѧҡҹٷ ͧѡѹ ҹ㹪ǧ͹͹ ͡ҡЪ͹Ѻʺ ѺͧкѺ¡ͧյ仴͹
Tips : ÷٧ ѡ 紿ѡͧ 紷ҹѹ Թ жǵҧ

ͧô͹ҹ͹

    ͧդչ

Ѵ ͡ŵ ͧҹǹǹͧչ蹵 ѧҡôͧҹ͹͹ Ҩդ ա§ͧդչءԴҧ 6 ͹͹дշش

    ͧӵ٧

͡ҡҧ¨ͧͧѧҹҡ¡͹͹ ͧӵ٧ѧդ§здѺӵʹ٧ úǹü͹¢ͧҧҧ͹ ͧӵ٧͡ҡչѴ ѧ件֧Ӽҧ ա

͡ҡ÷ҷҹ͹͹ ͡ѧ ѺҾҡͧ͹ Ҹ ѧҹ͹ѺʹԷ ͹Ѻҡ ҡջѭҹ͹Ѻعç þᾷ͵Ǩ˵طԧ ҷҧҧ١ͧ



2057
Other Products Marketplace: ͧ͢Թҷ / ǡҹ Ѻ 10 "þس紹" ͤѧ
« : ѹҤ 04, 2017, 08:39:38 AM »


ѧҡ͹Źѧٴ֧ع÷ǹСͺͧ “ǡҹ” ʪҵԴ þسԹҤ Sanook! Health ֧͹þسӤѭ ͧǡҹءҺѹ

ǡҹ Ѻ 10 þس紹

    ҡõҧ ҾѺطҡ 鹿Ҿҧç 鹿٤ ͹Ѻʺ ҡûǴǻǴѧբ 繵

    ҹ Ъ¤ǺԭԺⵢͧ СԹͻͧѹ ͪŴҡâͧ秡

    Ŵ Ŵѹʹ

    ŴѹԵ

    اç ӧҹҧջԷҾ

    ҡ Ŵ ѡѴ

    ʹç 鹿٨ҡҡѺʺ 秵

    ѡ㹡

    Ѻ駡еǢͧʹ

    اѺç


ͤѧ㹡ôǡҹ

ǨչѡǡҹҪ繪Ҵѧ ҧѹ С͹͹ ¨д§ 7 ѹ ش 1-2 ѹ Ǥ´ ÷ҡüԴ Ǵ¹ شѹ

ع÷ԹҧŨҡҧᴹ ÷ҹͧعô ẺҹѹҤҷ֧Ẻ ͧѹҴٺҧ͹ѹФ ôŴյҧҧúҧ 觻ѹʺó餹 ҺѹҧԤ



2058
Other Products Marketplace: ͧ͢Թҷ / بʹ § 6 äشѹ
« : ѹҤ 04, 2017, 06:56:58 AM »






͹ѹ仡ѡá سѹѧࡵѡɳТͧبТͧسҧ آҾͧöǨ ҡبй Ҩ繢Ҵ ѡɳзҡ¹͡

ԷѴਹ ¤Ҩ بʹ بзʹʴ ͡Ҵ зҷҺѹҤ դ٧äԴմǧ ѹԧ ѧաäҨʴҡ鹨ҡبʹ ѧѹ¡äԴմǧա


6 äѹ 鹨ҡҡ “بʹ”

    äԴմǧ

ͧ١ դ§äҡҤ ҡب繡͹秺 ب令ٴѺ ͧ͡˹ѡԴ ʹʴ͡´ ب ͡ҡҡûǴʺdzٷ˹ѡ ѧҨա͹Դմǧ͡ ҡѡʺ Ǵʺ˹ѡҡ ҡҡբ պᾷ͡ѡҧ١Ը

 

    ʹ͡˭

ҡʹʴ ʹ͡ҾѺبд ҡûǴʺ˹ѡ ҡ÷ͧ١ Ҩ͡͡˭ ҡҡ ʹ͡ҹ ʹشͧ öʹҡ÷ҹ ҡʹ͡ҡ ù͹ѡ ӧ оᾷçҺŴշش

 

    ʹ͡㹡

ҡҨҡ¹͡ʹ͹ (ҡ¹) ҡҨ¡بʹ ʹͺ ҡʹӹǹҡ ç պᾷ´ǹ

 

    äԴ

ҡҡ÷ͧ·ͧǧ ب١ʹ عç Ҩ§äԴԴҡõԴ˭ ˭ѡʺ ᾷǨب˵طѴਹçҺ

 

    ä˭

秨зԴ ੾кdz˹ѡ ֧դ§жʹ ä˭ѡԴ鹡Ѻ˭ҡ 40-50 ͡ʷԴ鹡Ѻ ·ӧҹ蹡ѹ 觤ͺǢͧջѵäҡ͹ դ§ҡ觢 ҧդ Ŵ÷ҹᴧ ûҧ شٺ š ͡ѧ繻Ш

    äҴʹ

äҴʹ Ҩҡ˵ ҡäʹö¹ ӧҹ з ҨẤ ҡ÷辺ͻǴͧ ҨǴҡʵ ҨҡõԴ㹡ʹªԵ ҡҧǴͧҡöʹ ʴҡ˹ѡ պᾷͷӡõǨ ҡҧǹͧ еͧҵѴ͹ǹ͡ ǵѧӧҹҴ¡ѹ

͡ҡبʹѭҳѹ¶֧äҧ ÷բͧبᴧͺ ҨҨҡ˵ ÷ҹ÷ʹѵǹСͺ ͡ѧҹҺاʹ ѧҡҡöʹ դʹ ҡüԴ Ҩͧҹѡҡ ҡ ͡ѧ ҨҡôѧǴբ ҡ ᾷ͵Ǩҧ¡дշش



2059
Other Products Marketplace: ͧ͢Թҷ / ҵ Ѻ 4 ѭҳ͡ä ѡ
« : ѹҤ 04, 2017, 06:01:03 AM »



ǺäʶԵԷšµ¨ҡҵ йЪҪѭҳ͹ͧäʹʹͧ ҡҡպçҺ 3 ͨѺѡö鹿Ѻ繻ҡش ԭǹآҾͧ

.ó Ѳԭ ͸ԺաǺä зǧҸóآ (ʸ.) ҵ äʹʹͧ äԴªԵѹѺ Сѧ¤ءзš йªԵ鹷ء ªԵҡäҹ ä㨢Ҵʹҳ 2 ͧҵš (World Stroke Organization) ֧˹ѹ 29 Ҥͧء ѹҵš ͡еЪҪ˹ѡлͧѹѨ§͡û´äʹʹͧ §͡ҵ

 

չ Ǻä ʸ.Ѵóçѹҵš 2560 㹤Ӣѭ "ҵ (ѭҳ͹) ʹ () " ѭҳ͹ͧäʹʹͧ F.A.S.T

F (Face) ˹͹ç ҡҧ˹觨е

A (Arm) ᢹ͢͹ç ¡˹觢ҧ

S (Speech) ٴӺҡ Ѵ ջѭ㹡þٴ

T (Time) ҡҡâҧպçҺŷѹ 3 ͨѺѡö鹿Ѻ繻ҡش ´ǹ 1669 ԡÿյʹ 24

 

ѺФѭҳ͹ͧä դѹԧǡѺÿ鹿٢ͧ ûͧѹäʹʹͧö Ѻ§ͧͧ дѺѹԵ ҹ ѹʹ٧ 繵 ͡ѧҧѹ 30 ҷ ҧ 5 ѹѻ Ǻͧǹ Ŵúҹ ѹ ѡ ç ͧšСٺ شµͧŴ´оѡ͹§

äʹʹͧҵ öͧѹ »ЪҪءͧ¹ѭҳ͹ͧԴäʹʹͧлԺѵԵǷҧŴ§äʹʹͧ ջѭäѹԵ٧äҹ ;ҡõѭҳ͹ҧպ֡ᾷѺѡҧͧ ͻͧѹԴäʹʹͧԴѧ 觨ЪŴѵҵ Ŵԡŧ



2060


อาการปวดศีรษะสามารถเกิดขึ้นได้แทบทุกวัน กับทุกเพศ และทุกวัย หากแต่สาเหตุของอาการปวดศีรษะมีมากมายนับไม่ถ้วน แต่ละอาการปวดก็ไม่เหมือนกัน และด้วยอาการปวดที่ไม่เหมือนกันนี่แหละค่ะ ที่จะบอกเราได้ว่า เราปวดศีรษะเนื่องมาจากสาเหตุใด  เป็นโรคร้ายแรงอะไรหรือไม่ หนึ่งในนั้นก็คือโรค “เนื้องอกในสมอง” ที่เราอาจจะเคยได้ยินกันมาบ้าง ถึงแม้จะไม่บ่อยนัก แต่ปัจจุบันยังพบผู้ป่วยโรคนี้ในทุกเพศทุกวัย

 

เนื้องอกในสมอง เกิดจากสาเหตุใด?

เป็นที่น่าเสียดายว่าสาเหตุของโรคเนื้องอกในสมองยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด อาจมีผู้ป่วยบางรายพบว่ามี่ความผิดปกติจากพันธุกรรม แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าหากพบพ่อแม่พี่น้องเป็นโรคนี้แล้วเราต้องเป็นตามไปด้วยเสมอไป เพราะนอกจากเรื่องของพันธุกรรมแล้ว การเป็นมะเร็งที่ส่วนอื่นๆ แต่เชื้อแพร่กระจายไปที่ส่วนของสมอง ก็อาจทำให้เกิดเนื้องอกในสมองขึ้นได้เช่นกัน

 

เนื้องอกในสมอง มีกี่ประเ ท?

    เนื้องอกในสมองที่เกิดขึ้นจากเซลล์ของสมองเอง ซึ่งจะแบ่งออกเป็นชนิดที่เป็นเนื้อร้าย (มะเร็ง) และไม่ใช่เนื้อร้าย ส่วนใหญ่มักพบในแบบที่ไม่เป็นเนื้อร้าย แต่ก็มีส่วนน้อยที่พบว่าเป็นเนื้อร้าย หรือมะเร็งเช่นกัน

    เนื้องอกในสมองที่มาจากการลุกลามของเนื้องอกในส่วนอื่นๆ ของร่างกาย



สัญญาณอันตรายของโรคเนื้องอกในสมอง

    ปวดศีรษะ

    ตามปกติผู้ป่วยที่เป็นโรคเกี่ยวกับสมองมักมีอาการปวดศีรษะอยู่แล้ว แต่หากใครเป็นเนื้องอกจะมีอาการที่เป็นลักษณะเฉพาะเจาะจงอยู่ เช่น

    - ปวดศีรษะติดต่อกันเป็นระยะเวลานานๆ เป็นสัปดาห์ หรือเป็นเดือน และอาการปวดจะมากขึ้นเรื่อยๆ

    - ปวดศีรษะในเวลานอนตอนกลางคืน จนทนไม่ไหวต้องตื่นขึ้นมากลางดึก
    อวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งอ่อนแรง ขยับไม่ได้ดี และคล่องแคล่วเหมือนเดิม เส้นประสาททำงานอ่อนแรงลง โดยอาการนี้จะเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป เริ่มอ่อนแรงลงตามอวัยวะบางส่วนแบบช้าๆ เช่น แขนหรือมืออาจจะเริ่มอ่อนแรงลงเรื่อยๆ บางรายอาจใบหน้าบูดเบี้ยว หรือหูตึง

    เริ่มมีอาการที่เกิดจากการทำงานของระบบประสาทผิดปกติ เช่น กระตุก ชัก อาจจะชักเป็นจุดๆ เช่น ชักเฉพาะแขนข้างใดข้างหนึ่ง หรือใบหน้ากระตุก เป็นต้น โดยจะยิ่งเห็นได้ชัด เมื่อคนๆ นั้นไม่เคยมีอาการชักกระตุกมาก่อน รวมถึงผู้สูงอายุด้วย

 

วิธีรักษาโรคเนื้องอกในสมอง

แพทย์จะวินิจฉัยจากอาการ ขนาด และตำแหน่งของเนื้องอก และความเสี่ยงอื่นๆ เพื่อเลือกวิธีรักษาที่ได้ผล และเหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละคนให้ได้มากที่สุด โดยทั่วไปแล้วมีวิธีการรักษาอยู่ 3 วิธี คือ ผ่าตัด ฉายรังสี และให้ยาเคมีบำบัด หากเนื้องอกมีขนาดเล็ก และยังไม่ได้อยู่ในตำแหน่งใกล้เส้นประสาทสำคัญที่ทำให้เกิดอันตราย อาจจะเป็นแค่การติดตามอาการไปเรื่อยๆ ก่อน แต่หากพบว่าขนาด และตำแหน่งของเนื้องอกค่อนข้างอันตราย ทำให้เกิดอาการปวดศีรษะ อวัยวะอ่อนแรง อาจต้องทำการรักษาทันที โดยอาจจะผ่าตัด ควบคู่ไปกับการฉายรังสี หรือเคมีบำบัดต่อจากนั้นอีกด้วย

 

เพราะฉะนั้น การตรวจสุข าพประจำปี และหมั่นสังเกตอาการผิดปกติของตัวเองอยู่เสมอๆ อาจช่วยให้เรารู้ถึงโรคอันตรายต่างๆ ได้เร็วยิ่งขึ้น และทำการรักษาได้ง่าย รวดเร็ว และเห็นผลมากยิ่งขึ้นอีกด้วยใครมีอาการตามสัญญาณอันตรายดังกล่าว ลองไปพบแพทย์เพื่อเข้าตรวจอย่างละเอียดดูนะคะ



2061





นอกจากสมอง หัวใจ และระบบไหลเวียนของโลหิตที่ว่าสำคัญกับร่างกายเป็นอันดับต้นๆ แล้ว ระบบย่อยอาหารก็ถือว่าเป็นเรื่องที่พวกเราทุกคนไม่ควรมองข้าม เพราะทุกสิ่งที่เราทานเข้าไปต้องได้รับการย่อย และดูดซึมอย่างเป็นระบบ หากอวัยวะที่ใช้ในการย่อยอาหารเริ่มทำงานขัดข้อง จะส่งผลเสียต่อร่างกายมากมาย และอาจอันตรายถึงแก่ชีวิตได้

หากใครมีอาการดังต่อไปนี้ ขอให้ทราบว่าเป็นสัญญาณเริ่มต้นที่เริ่มบ่งบอกว่าระบบย่อยอาหารของคุณอาจมีปัญหาค่ะ

 

1. ปวดท้อง

ใครๆ ก็ปวดท้องได้ อาจจะมีความผิดปกติที่เกิดขึ้น แล้วหายไป แต่ใครที่ปวดท้องที่เดิมบ่อยๆ อาจเป็นสัญญาณบ่งบอกถึงปัญหา หรือโรคร้ายอะไรบางอย่างได้

 

ปวดท้องด้านขวาตอนบน อาจเกิดจากโรคตับ และถุงน้ำดี

ปวดท้องบริเวณใต้ซี่โครง อาจเกิดขึ้นพร้อมกับอาการแสบกระเพาะอาหาร จึงอาจเป็นโรคกระเพาะ และลำไส้อักเสบ และบางครั้งโรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นที่ถุงน้ำดีก็อาจเกิดขึ้นในบริเวณส่วนท้องที่เป็นแอ่งได้

ปวดท้องส่วนกลาง อาจเป็นโรคที่เกิดขึ้นที่ลำไส้เล็ก และลำไส้ใหญ่ และอาจเป็นไส้ติ่งอักเสบ เพราะมักมีอาการปวดท้องที่บริเวณนี้ก่อน แล้วจึงเลื่อนมาเป็นส่วนล่าง

ปวดท้องด้านซ้ายตอนบน อาจมีสาเหตุมาจากโรคต่างๆ ที่เกิดในลำไส้ใหญ่ เช่น โรคท้องผูกหรืออาการหดเกร็งของกล้ามเนื้อลำไส้ใหญ่ แต่หากมีอาการแสบกระเพาะอาหาร ก็อาจเกิดจากกรดและอาการเจ็บปวดเนื่องจากแผลในกระเพาะ

ปวดท้องด้านขวาตอนล่าง อาจเป็นอาการของไส้ติ่งอักเสบอย่างเฉียบพลัน หรืออาการอักเสบของลำไส้

ปวดท้องด้านซ้ายตอนล่าง หากมีอาการปวดและคลายสลับกัน พร้อมกับอาการท้องร่วง หรือเกิดจากอาการท้องผูก อาจเกิดจากโรคถุงผนังที่ลำไส้ใหญ่อักเสบ หรือมีความผิดปกติ เช่น ถุงน้ำ หรือเนื้องอกที่รังไข่ หรือมดลูก

 

2. ท้องอืด ท้องเฟ้อ แน่นจุกเสียด

คนที่ระบบการย่อยอาหารเริ่มมีปัญหา อาจมีอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ แน่นจุกเสียดท้องหลังรับประทานอาหาร หากมีอาการมากๆ ท้องจะเกร็ง และอาจมีอาการข้างเคียงอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น เรอบ่อย เรอเหม็นเปรี้ยว ผายลมบ่อย ท้องใหญ่ขึ้น หรือท้องผูก และท้องเสียร่วมด้วย ผู้ที่มีอาการดังกล่าวจะยังคงรับประทานอาหารได้ตามปกติ น้ำหนักไม่ลด และส่วนมากมักมีน้ำหนักเกิน อาการเหล่านี้หากเป็นบ่อยๆ อาจสันนิษฐานว่ากระเพาะอาหาร หรือลำไส้ทำงานไม่ปกติ

 

3. กลืนลำบาก

อาการกลืนอาหารลำบาก อาจเกิดจากก้อนเนื้อ หรือก้อนมะเร็งในทางเดินอาการ หรือหลอดอาหารได้ แต่อาจเป็นเพราะระบบการเคลื่อนไหวของหลอดอาหาร หรือระบบประสาททำงานไม่ดีได้ด้วยเช่นกัน หากกลืนอาหารประเ ทของแข็ง เช่น เนื้อสัตว์ แล้วติด โดยเฉพาะตรงกลางอก อาจสันนิษฐานว่ามีก้อนเนื้อ หรือก้อนมะเร็งอยู่ในหลอดอาหาร หรือบริเวณใกล้เคียง แต่หากกลืนอาหารทั้งของเหลว และของแข็งได้ลำบากตั้งแต่ต้น อาจเกิดจากการบีบตัวไม่เป็นจังหวะของหลอดอาหาร อาการนี้อาจเป็นๆ หายๆ ได้เช่นกัน

 

4. แสบกลางอก

หากมีอาการแสบกลางอกโดยเฉพาะในตอนกลางคืน สันนิษฐานว่าอาจเป็นโรคกรดไหลย้อน เกิดจากหูรูดที่หลอดอาหารปิดไม่ค่อยสนิท กรดที่ไหลย้อนขึ้นมานี้อาจทำให้อักเสบ เป็นแผล หรือเลือดออกได้ อาการชัดเจนคือ แสบร้อนกลางอก และจะมีอาการดังกล่าวในเวลานอนตอนกลางคืน เวลานอนอาจจะมีอาการไอ สำลัก หอบ ซึ่งอาจทำให้นึกว่าเป็นโรคปอด โรคหัวใจ แต่ไม่ใช่ เพราะฉะนั้นคนที่มีอาการตอนกลางคืนต้องนึกถึงกรดไหลย้อนด้วย นอกจากนี้หลังอาหารมื้อหนัก หากยกของหนัก หรือนอนหงายกรดก็จะไหลขึ้นมาทำให้เกิดอาการแสบได้เช่นกัน

 

หากใครมีอาการผิดปกติดังกล่าวบ่อยๆ อาจเกิดขึ้นมากกว่า 2-3 ครั้งใน 1 อาทิตย์ หรือมีอาการไม่บ่อย แต่เป็นๆ หายๆ บ่อยๆ ควรเข้ารับการตรวจอย่างละเอียดจากแพทย์จะดีที่สุดค่ะ เพราะหากปล่อยให้อาการนี้ลามเรื่อยๆ โดยไม่ได้รับการรักษา อาจทำให้รักษายากขึ้น และไม่หายขาดได้นะคะ



2062





ดอกคำฝอย มีลักษณะเป็นอย่างไร

ดอกคำฝอย เป็นดอกไม้จากพืชล้มลุกชนิดหนึ่ง ที่มักปลูกมากกันทาง าคเหนือ ลำต้นสั้น ทนต่อส าพอากาศ ดอกมีลักษณะกลม กลีบดอกเล็กเรียว และมีดอกเล็กย่อยออกมาหลายดอก สีเหลืองจนไปถึงส้ม หรือส้มแดงเมื่อแก่จัด
 

ประโยชน์ของดอกคำฝอย

    ลดไขมันในเส้นเลือด ป้องกันไขมันอุดตันเส้นเลือด

    บำรุงประสาท และระงับประสาท ช่วยผ่อนคลายสมองให้หลับสบาย

    ป้องกันโรคความดันโลหิตสูง เพิ่มประสิทธิ าพในการไหลเวียนของโลหิตตามร่างกาย

    บำรุงโลหิต สบายลิ่มเลือด

    บำรุงหัวใจ ช่วยให้เลือดไหลไปหล่อเลี้ยงที่หัวใจมากยิ่งขึ้น

    รักษาอาการไข้หลังคลอดของคุณแม่

    แก้หวัดน้ำมูกไหล

    บำรุงโลหิตประจำเดือนของเหล่าคุณผู้หญิง

    ยับยั้งเชื้อไวรัส และเชื้อแบคทีเรีย

    ลดระดับน้ำตาลในเลือด

 

โทษของดอกคำฝอย

แม้ว่าดอกคำฝอยจะเป็นสมุนไพรที่มีสรรพคุณแทบจะครอบจักรวาล แต่ก็ยังมีข้อควรระวังก่อนทานเช่นกัน ดอกคำฝอยมักถูกใช้เป็นส่วนประกอบของยาสมุนไพร โดยจัดรวมกลุ่มใช้ด้วยกันกับยา หรือพืชตัวอื่นๆ จะไม่ใช้ดอกคำฝอยเดี่ยวๆ เพราะต้องใช้ในปริมาณที่เหมาะสม มิเช่นนั้นอาจส่งผลกระทบต่อระบบเลือดได้

หากทานดอกคำฝอยมากเกินไป หรือติดต่อกันนานเกินไป อาจส่งผลให้มีอาการโลหิตจางได้ ซึ่งทำให้มีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย วิงเวียนศีรษะ หรืออาจทำให้โลหิตประจำเดือนมามากผิดปกติ

นอกจากนี้ใครที่กำลังรับประทานยา หรือรับการรักษาโรคที่เกี่ยวกับลิ่มเลือด หรือกำลังทานยาสลายลิ่มเลือดอยู่ ไม่ควรทานดอกคำฝอย เพราะจะยิ่งเพิ่มการสลายลิ่มเลือดให้ออกฤทธิ์มากเกินไปจนอาจเกิดอันตรายต่อร่างกายได้

ใครที่ร่างกายแข็งแรงเป็นปกติดี สามารถทานดอกคำฝอยได้ ปัจจุบันมีผลิต ัณฑ์จากดอกคำฝอยมากมาย ทั้งเครื่องดื่มผสมดอกคำฝอย ชงเป็นชาจากกลีบดอกที่แห้ง หรือจะสกัดออกมาเป็นน้ำมันดอกคำฝอย ทั้งหมดล้วนแล้วแต่ดีต่อสุข าพทั้งสิ้น แต่ใครที่มีปัญหาสุข าพ ควรปรึกษาแพทย์ก่อนทานค่ะ



2063






หากย้อนกลับไปเมื่อหลายปีก่อน หลายคนอาจจะยังติด าพว่า ผู้ที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน คือคนอ้วนที่ชอบทานอาหารหวานๆ เป็นจำนวนมาก แต่สิ่งที่น่าตกใจในเวลาต่อมาคือ เราพบผู้ป่วยเบาหวานร่างเล็ก บางคนถึงขั้นผอมบาง แต่ก็เป็นเบาหวานได้ ด้วยปัจจัยเสี่ยงหลายๆ อย่าง นอกจากพฤติกรรมติดหวาน เช่น กรรมพันธุ์ และความผิดปกติในร่างกาย

ดังนั้น ไม่ว่าคุณจะมีรูปร่าง หรือพฤติกรรมในการดำเนินชีวิตอย่างไร เราทุกคนมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคเบาหวานได้ทั้งนั้น Sanook! Health จึงขอแนะนำอาการเริ่มต้นของผู้ที่เสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ให้ทุกคนได้สังเกตร่างกายของตัวเองกันค่ะ

 

7 สัญญาณอันตราย “เบาหวาน” ไม่อ้วนก็เป็นได้

1. ปัสสาวะบ่อยผิดปกติ หรือรู้สึกปวดปัสสาวะทั้งวัน หากน้ำตาลในเลือดสูงเกินไป

2. หิวน้ำมากกว่าปกติ รู้สึกว่าดื่มน้ำมากเท่าไรก็ไม่หายกระหายน้ำ

3. เบื่ออาหาร น้ำหนักลดโดยไม่ทราบสาเหตุ

4. อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย

5. มีอาการชา เป็นเหน็บ รู้สึกเหมือนมีเข็มทิ่มที่ปลายนิ้วมือนิ้วเท้า เรียกว่ามีอาการ “เส้นประสาทอักเสบ” และอาจมีอาการนี้มากขึ้นเรื่อยๆ

6. ตาพร่ามัว เริ่มมองเห็นไม่ชัด

7. ผิวหนังแห้งผิดปกติ เป็นแผลง่าย และแผลติดเชื้อได้ง่าย แผลหายยาก หรือหายช้า

 

อาการทั้งหมดเป็นอาการที่ร่างกายแสดงออก เมื่อเรามีระดับน้ำตาลเลือดสูงขึ้น หากต้องการทราบด้วยตัวเองว่า ระดับน้ำตาลของเราอยู่เกณฑ์เสี่ยงเบาหวานหรือไม่ เราสามารถใช้เครื่องมือตรวจเลือดหาค่าน้ำตาลได้ด้วยตัวเองที่บ้านนะคะ สามารถหาซื้อเครื่องตรวจน้ำตาลได้ที่ร้านขายยาใหญ่ๆ

คนปกติ ค่าน้ำตาลจะอยู่ที่ต่ำกว่า 100 มิลลิกรัม/เดซิลิตร หลังอาหารต่ำกว่า 140 มิลลิกรัม/เดซิลิตร

คนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ค่าน้ำตาลจะอยู่ที่ 100-125 ก่อนทานอาหาร และ 140-199 หลังทานอาหาร

คนที่เป็นเบาหวาน ค่าของน้ำตาลในเลือดจะมากกว่า 126 มิลลิกรัม/เดซิลิตร ก่อนทานอาหาร และมากกว่า 200 มิลลิกรัม/เดซิลิตร หลังจากทานอาหาร

ทั้งนี้ เพื่อความแน่ใจในผลตรวจ ควรนัดตรวจกับแพทย์ที่โรงพยาบาลอีกครั้ง พร้อมกับอดอาหารก่อนตรวจเลือด 6-8 ชั่วโมงค่ะ



2064



เชื่อว่าหลายคนอาจจะมีอย่างน้อยครั้งหนึ่งที่เมื่อต้องทานยาก่อน หรือหลังอาหาร และลืมทาน หรือลืมพกยามาด้วย ทางคนเลือกที่จะทานเลยเดี๋ยวนั้น บางคนก็เลือกที่ข้ามมื้อนั้นไปเลย จริงๆ แล้วเราควรทำอย่างไร หรือยาก่อนและหลังอาหารเราควรทานเมื่อไรถึงจะดีที่สุด

ยาก่อนอาหาร
ยาก่อนอาหารเราควรทานก่อนอย่างน้อย 30 นาทีค่ะ และต้องทานขณะที่ท้องยังว่าง คือไม่ได้ทานอะไรในระหว่างนั้น ทั้งนี้เพื่อให้ยาไม่โดยน้ำกรดในกระเพาะอาหารทำลายจนหมด นอกจากนี้หากทานยาก่อนอาหารพร้อม หรือหลังอาหารอาจทำให้ยาดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้น้อยลง เพราะเจอกับส่วนประกอบของอาหาร และยาบางชนิดต้องการเวลาประมาณ 30 นาทีก่อนที่จะออกฤทธิ์อีกด้วย

หากลืมทานยาก่อนอาหาร ควรทำอย่างไร?
ไม่ควรทานพร้อม หรือหลังอาหาร ควรข้ามมื้อนั้น แล้วไปทานก่อนอาหารมื้อถัดไปแทน หรืออาจจะทานอีกทีหลังมื้ออาหาร 2 ชั่วโมงก็ได้ ซึ่งเมื่อถึงมื้อถัดไปก็ไม่ต้องทานยาก่อนอาหารแล้ว (คือทานแทนยาก่อนอาหารมื้อถัดไปไปเลย)

ยาหลังอาหาร
ควรทานยาหลังอาหารทันที หรือไม่ควรเกิน 15 นาที นอกจากนี้ยังสามารถทานพร้อมอาหาร หรือก่อนอาหาร ก่อนตักข้าวเข้าปากคำแรกก็ได้ เพราะไม่ว่าอย่างไรจุดประสงค์ของยาหลังอาหารคือ ให้ยาเข้าไปอยู่ในกระเพาะอาหารพร้อมๆ กับอาหารนั่นเอง เพราะยาหลังอาหารอาจทำให้ระคายเคืองกระเพาะอาหาร และยาบางชนิดอาจต้องการกรดในกระเพาะอาหารเพื่อช่วยดูดซึมตัวยาเข้าร่างกายได้ดีขึ้น

หากลืมทานยาหลังอาหาร ควรทำอย่างไร?
หากยังอยู่ในระยะเวลาไม่เกิน 15 นาที ยังพอกินตามทัน แต่หากเลย 15 นาทีไปแล้ว ควรทานมื้อถัดไปเลยดีกว่า หรือหากเป็นยาที่สำคัญมากๆ ควรทานอาหารมื้อย่อย แล้วทานยาหลังอาหารมื้อย่อยนั้นแทน

ยาก่อนนอน
ควรทานก่อนนอน 15-30 นาที เพราะหากทานก่อนหน้านั้นนานเกินไป อาจทำให้ง่วงนอนจากฤทธิ์ของยา ประสิทธิ าพในการทำงานต่างๆ ก็จะลดลงไปด้วย ควรทานตอนที่พร้อมจะเข้านอนแล้วจริงๆ เท่านั้น

หากลืมทานยาก่อนนอน ควรทำอย่างไร?
ลืมแล้วลืมเลย ทานอีกทีตอนก่อนนอนของคืนถัดไปได้เลย ไม่ควรทานในตอนเช้าของวันถัดไป

นอกจากนี้ สำหรับยาที่ทานเฉพาะเมื่อมีอาการ เช่น พาราเซตามอลที่ช่วยลดไข้ ปวดหัว สามารถทานได้เลยเมื่อมีอาการ และยาหมดฤทธิ์และยังมีอาการอยู่ สามารถทานต่อได้ (ในระยะเวลาที่กำหนด) และหยุดยาได้ทันทีเมื่อไม่มีอาการแล้ว แต่ยาบางชนิดมีวิธีทานที่แตกต่างไปจากยาทั่วไป ควรสอบถามแพทย์ และเ สัชกรเป็นกรณีๆ ไปค่ะ



˹: 1 ... 136 137 [138]