สวัสดี บุคคลทั่วไป

แสดงกระทู้

This section allows you to view all posts made by this member. Note that you can only see posts made in areas you currently have access to.


Messages - aramboy007

หน้า: 1 ... 3 4 [5]
61
หลักการและเหตุผล อบรมภาษา c
   เป็นการศึกษาหลักการเขียนโปรแกรมสำหรับคอมพิวเตอร์ การเรียนรู้จะเป็นการเรียนรู้เบื้องต้น เพื่อเรียนรู้ในการเขียนโปรแกรมระดับสูงต่อไป เนื้อหาแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ ส่วนที่หนึ่ง เป็นส่วนของการวิเคราะห์โจทย์ การออกแบบโดย Flow Chart Diagram โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ปัญหาเพื่อนำไปเขียนเป็นโปรแกรมได้ตรงความต้องการ ส่วนที่สอง ส่วนของการเขียนโปรแกรมที่มี Input และ Output โดยมีการรับค่าเพื่อนำไปประมวลผลตามความต้องการของโจทย์ และในส่วนที่สาม ส่วนสุดท้าย เป็นส่วนของการใช้คำสั่งที่มีเงื่อนไขประเภทต่างๆ รวมถึงการใช้งาน Function ในภาษาซี



วัตถุประสงค์ของการ สอนภาษา c
ผู้เข้าอบรมจะได้เรียนรู้หลักในการออกแบบโปรแกรม โดยสามารถวิเคราะห์และออกแบบโปรแกรมให้ตรงตามความต้องการมากที่สุด
ผู้เข้าอบรมจะได้หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นที่ถูกต้อง และสามารถนำไปพัฒนาเพื่อเขียนโปรแกรมระดับสูงต่อไป
ผู้เข้าอบรมสามารถนำแนวคิดในการเขียนโปรแกรมไปเขียนโปรแกรมในระดับที่สูงขึ้นได้
หัวข้อการฝีกอบรม
ส่วนเนื้อหาของการ อบรมภาษา c ตอนที่ 1

1. ภาษาซีเบื้องต้นโครงสร้างของโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาซี, ตัวบ่งชีและคำสงวน, ประเภทของข้อมูล, ค่าคงที่

2. อินพุตและเอาต์พุต ฟังค์ชันอินพุตมาตรฐาน, ฟังค์ชันเอาต์พุตมาตรฐาน

3. ตัวกระทำการนิพจน์และการแปลงค่าของตัวถูกกระทำ, ตัวกระทำการถ่ายค่า, ตัวกระทำทางคณิตศาสตร์,ตัวกระทำทางตรรก, การลดรูปนิพจน์

ส่วนเนื้อหาของการ อบรมภาษา c ตอนที่ 2


1. การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรมคำสั่งในการตัดสินใจ, คำสั่งที่ใช้ในการวนรอบ, คำสั่ง Break, คำสั่ง continue, การวนรอบแบบไม่จำกัด

2. อาร์เรย์ การประกาศตัวแปรแบบอาร์เรย์, การกำหนดค่าตัวแปรอาร์เรย์, การนำตัวแปรอาร์เรย์ไปใช้งาน,การกำหนดตัวแปรอาร์เรย์ 2 มิติ

ส่วนเนื้อหาของการ อบรมภาษา c ตอนที่ 3

1. การใช้งานฟังก์ชั่น การกำหนดและการใช้งานฟังก์ชัน, ฟังก์ชันโปรโตไทป์, ประเภทของฟังก์ชัน, การส่งผ่านข้อมูลแบบกำหนดค่า, การส่งผ่านข้อมูลแบบอ้างอิง, อาร์เรย์และฟังก์ชัน

2. พอย์เตอร์ ตำแหน่งของหน่วยความจำ, ตัวดำเนินการแอดเดรส, การประกาศตัวแปรชนิดพอยน์เตอร์,พอยน์เตอร์กับอาร์เรย, คณิตศาสตร์ของพอยน์เตอร์

คุณสมบัติผู้เข้า อบรมภาษาซี
เป็นผู้มีความสามารถในการใช้งานคอมพิวเตอร์
เป็นผู้มีความสนใจในการพัฒนาโปรแกรมขั้นพื้นฐานเพื่อพัฒนาสู่การพัฒนาโปรกรมขั้นสูงต่อไป

http://keil-cvi.com/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2-c/

62
รับสอน อบรม labview ในงาน image processing 12 ชั่วโมง
การฝึกอบรม นอกจากทางบริษัทจะรับพัฒนาโปรแกรมให้ตามความต้องการของลูกค้าแล้ว ยังมีการฝึกอบรมในหลักสูตรต่างๆเช่น Labview Core 1, Labview Core 2 โดยวิทยากรที่มีใบรับรอง Labview Certified Developer จากทางบริษัท National instrument และให้คำปรึกษาสำหรับแก่ผู้สนใจที่จะเขียนโปรแกรม หรือพัฒนาระบบต่างๆเพื่อประโยชน์กับองค์กรหรืองานของท่านด้วยตนเองได้

Hands-on เป็นการฝึกอบรม Labview ให้สำหรับผู้ที่สนใจใช้โปรแกรม Labview ผู้เข้าอบรมจะได้เรียนรู้การใช้โปรแกรม Labview ในการติดต่อและควบคุมอุปกรณ์ภายนอก เช่น Data Acquisition,GPIB,RS-232 เป็นการอบรมแบบไม่คิดค่าใช้จ่าย

ท่านผู้สนใจสามารถตรวจสอบตารางการอบรมและลงทะเบียนได้ที่
หรือส่งEmail มาที่ info@trinergy.co.th
ขอแนะนำหลักสูตรการอบรม LabVIEW
การเขียนโปรแกรม LabVIEWโดยการนำเอาระบบอัตโนมัติมาใช้งานมีข้อดีคือ

> เพิ่มความเร็วในการวัดหรือการทดสอบ
> ลดขั้นตอนการทำงาน
> เพิ่มความเที่ยงตรงในการวัดค่า
> ลดความผิดพลาด
> ง่ายต่อการตรวจสอบข้อมูลภายหลัง

https://www.youtube.com/watch?v=BAVClv-AO7E


63
งานและพลังงาน จำหน่าย ดีวีดี สอน 3 ชั่วโมง สอนเข้าใจง่ายทำโจทย์ให้ดูสดๆ มีสรุปแนวโจทย์ทุกแนวที่เคยออกมาแล้ว โจทย์ครบทุกแนว ราคา 750 บาท

สำหรับชุดงานและพลังงาน มีรายละเอียดหัวข้อสอนดังนี้

- งาน (Work)
- กำลัง (Power)
- พลังงาน (Energy)
- เครื่องกล (Machine)

พลังงาน คือ อะไร ?

           คำว่า energyis มีความหมายกว้างมากจนยากที่จะเขียนได้ยากเทคนิคคือพลังงานที่เกี่ยวข้องกับรัฐ (หรือเงื่อนไข) ของวัตถุอย่างน้อยหนึ่งวัตถุอย่างไรก็ตามคำจำกัดความนี้คลุมเครือเกินไปที่จะช่วยเราได้ในขณะนี้

พลังงานจลน์
           พลังงานจลน์ K คือ พลังงานที่เกี่ยวข้องกับสถานะของการเคลื่อนที่ของวัตถุวัตถุเคลื่อนที่เร็วกว่ามากพลังงานจลน์ของมัน เมื่อวัตถุเคลื่อนที่นิ่งพลังงานจลน์เท่ากับศูนย์

งาน คือ อะไร ?
            ถ้าคุณเร่งวัตถุให้มีความเร็วมากขึ้นโดยการใช้กำลังกับวัตถุคุณจะเพิ่มพลังงานจลน์ของวัตถุในทำนองเดียวกันถ้าคุณลดความเร็วของวัตถุให้มีความเร็วน้อยลงโดยการบังคับให้ใช้คุณจะลดพลังงานจลน์ของวัตถุ เราอธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงของพลังงานจลน์โดยการบอกว่าแรงของคุณได้ถ่ายเทพลังงานไปยังวัตถุจากตัวคุณเองหรือจากวัตถุต่อตัวเอง ในการถ่ายเทพลังงานดังกล่าวผ่านทางกำลังงาน W จะกล่าวได้ว่าทำบนวัตถุด้วยแรง

งานและพลังงาน

64
  การเคลื่อนที่แนวตรง
             การเคลื่อนที่แนวตรงของวัตถุ  เป็นการเคลื่อนที่ที่ไม่เปลี่ยนทิศทาง  เช่น  การเคลื่อนที่ของลูกมะพร้าวเมื่อตกจากต้นสู่พื้นดิน  การเคลื่อนที่ของรถยนต์บนถนนตรง  การเคลื่อนที่ของนักกีฬาว่ายน้ำในลู่ของสระ  เป็นต้น

ปริมาตรต่างๆที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ในแนวตรงมีความเกี่ยวข้องกันอย่างไร
                 
            ในขณะที่รถยนต์เริ่มเคลื่อนที่บนถนนตรง  คนขับจะเหยียบคันเร่งทำให้รถเคลื่อนที่เร็วขึ้น  ถ้าสังเกตที่เข็มวัดอัตราเร็วบนหน้าปัดของรถ  จะพบว่าเข็มเบนมากขึ้น  แสดงว่ารถเคลื่อนที่ด้วย อัตราเร็ว  (speed)  เพิ่มขึ้น  และถ้าพิจารณาทิสของการเคลื่อนที่ด้วย  ความเร็ว   (velocity)  เพิ่มขึ้น

            เมื่ออ่านค่าจากเข็มชี้อัตราเร็วของรถที่กำลังเคลื่อนที่ในภาพ  ขณะนี้รถเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว  80  กิโลเมตรต่อชั่วโมงหรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว  80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง  ไปทางทิศใต้  หากความเร็วของรถเปลี่ยนแปลง  กล่าวได้ว่ารถเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง (acceleration) การเข้าใจปริมาณต่างๆที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่  จะทำให้มีความปลอดภัยมากขึ้นในการขับขี่ยวดยานพาหนะ  และนำไปใช้ประโยชน์ด้านต่างๆได้

การเคลื่อนที่เกี่ยวข้องกับปริมาณอะไรบ้าง  การเคลื่อนที่ของวัตถุต่างๆ  มีอัตราเร็วเท่ากันตลอดการเคลื่อนที่หรือไม่  และจะสามารถวัดได้อย่างไร

1.1.1  อัตราเร็วและความเร็ว   
               ถ้านักเรียนสังเกตนักวิ่งหรือนักว่ายน้ำ  เมื่อเคลื่อนที่ออกจากจุดเริ่มต้นจะมีอัตราเร็วไม่มากนัก  และเพิ่มอัตราเร็วขึ้นในช่วงเวลาต่อมา  แสดงว่าการเคลื่อนที่มีอัตราเร็วไม่เท่ากันตลอดระยะทาง  จึงนิยมบอกเป็น  อัตราเร็วเฉลี่ย   ซึ่งหาได้จากอัตราส่วนระหว่างระยะทางที่เคลื่อนที่ได้กับช่วงเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่

                         
                             ภาพ  1.1  หอยทาก  นักวิ่ง  รถยนต์และเสือชีต้า  มีอัตราเร็วเฉลี่ยต่างกัน 

              นักเรียนจะศึกษาและหาอัตราเร็วเฉลี่ยได้จากกิจกรรมต่อไปนี้

กิจกรรม 1.1   การหาอัตราเร็วเฉลี่ย
 
                                ภาพการจัดอุปกรณ์ 
              1.  ต่อเครื่องเคาะสัญญาณเวลาเข้ากับหม้อแปลงโวลต่ำที่มีความต่างศักย์ไฟฟ้า  4-6  โวลต์  สอแถบกระดาษผ่านใต้กระดาษคาร์บอนของเครื่องเคาะสัญญาณเวลา  ติดแถบกระดาษกับรถทดลอง  เปิดสวิตซ์หม้อแปลงโวลต์ต่ำแล้วผลักรถทดลองให้แถบกระดาษเคลื่อนที่  ผ่านคันเคาะของเครื่องเคาะสัญญาณเวลาเลือกจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้ายบนแถบกระดาษที่สามารถวัดระยะทางได้สะดวก
             2.  นำข้อมูลมาอภิปรายในประเด็นต่อไปนี้
                -  ระยะทางระหว่างจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้ายเป็นเท่าใด  และมีกี่ช่วงจุด
                -  ช่วงเวลาระหว่างจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้ายเป็นเท่าใด
                -  อัตราเร็วเฉลี่ยของการเคลื่อนที่ในช่วงดังกล่าวเป็นเท่าใด
            3.  สรุปและนำเสนอผลการศึกษา

เครื่องเคาะสัญญาณเวลา (ticker  timer)

            เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเป็นอุปกรณ์  ที่ใช้หาอัตราเร็วของวัตถุ   เมื่อต่อเครื่องเคาะสัญญาณเวลาเข้ากับความต่างศักย์ไฟฟ้า  4-6  โวลต์ของหม้อแปลงโวลต์ต่ำ  จะทำให้คันเคาะสั่นด้วยความถี่ของไฟฟ้ากระแสสลับที่ใช้   คือ  50  ครั้งต่อวินาที  เมื่อดึงแถบกระดาษที่สอดใต้กระดาษคาร์บอน  จะทำให้เกิดจุดต่างๆเรียงกันบนแถบกระดาษ  จุดเหล่านี้ช่วยให้ทราบระยะทางและเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่  เพราะเวลาระหว่างจุด  2  จุด  ที่เรียงกันเท่ากับ  1/50  วินาที  ข้อมูลเวลาและระยะทางช่วยให้วิเคราะห์หาอัตราเร็วได้

การเคลื่อนที่แนวตรง

65
ความหมายของการเคลื่อนที่แนวตรง

– การเคลื่อนที่ (Motion) หมายถึง ขบวนการอย่างหนึ่งที่ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งอย่างต่อเนื่องตามเวลาที่ผ่านไป โดยมีทิศทางและระยะทาง

– การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง (Rectilinear motion) หมายถึง การเคลื่อนที่ของวัตถุที่เป็นแนวเส้นตรงซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างความเร็ว เวลา ความเร่ง และระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไปได้ (นันทพงษ์ ลายทอง และคณะ, 2549) ลักษณะการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวซึ่งมีการเคลื่อนที่นั้นจะมีการเคลื่อนที่แตกต่างกันออกไป เช่น การเคลื่อนที่ในแนวตรง แนวโค้ง เป็นวงกลม หรือกลับไปกลับมาในการที่เราจะพิจารณาว่าวัตถุมีการเคลื่อนที่หรือไม่ พิจารณาที่ มีการเปลี่ยนตำแหน่งหรือไม่ ถ้ามีการเปลี่ยนตำแหน่ง ถือเป็นการเคลื่อนที่

– การบอกตำแหน่งของวัตถุ การบอกตำแหน่งของสิ่งต่าง ๆ นั้นทำได้โดยการบอกตำแหน่งเทียบกับตำแหน่งหรือสิ่งที่สังเกตได้โดยง่าย ซึ่งเรียกว่า ตำแหน่งอ้างอิงหรือจุดอ้างอิง ซึ่งต้องเป็นจุดที่หยุดนิ่ง

ในชีวิตประจำวัน เราพบเห็นการเคลื่อนที่ของสิ่งต่างๆ เช่น นกบิน รถยนต์แล่นบนถนน ลูกฟุตบอลเคลื่อนที่ในอากาศ ใบพัดลมหมุน เด็กแกว่งชิงช้า ผลไม้หล่นจากต้น เป็นต้น การเคลื่อนที่ดังกล่าวมีลักษณะเฉพาะอย่างไร และขึ้นกับปัจจัยอะไรบ้าง นักเรียนจะได้ศึกษาต่อไป

การเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรงของวัตถุ เป็นการเคลื่อนที่ที่ไม่เปลี่ยนทิศทาง เช่น การเคลื่อนที่ของลูกมะพร้าวเมื่อตกจากต้นสู่พื้นดิน การเคลื่อนที่ของรถยนต์บนถนนตรง การเคลื่อนที่ของนักกีฬาว่ายน้ำในลู่ของสระ เป็นต้น
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง แบ่งเป็น 2 แบบ คือ
1. การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงที่ไปทิศทางเดียวกันตลอด เช่น โยนวัตถุขึ้นไปตรงๆ รถยนต์ กำลังเคลื่อนที่ไปข้างหน้าในแนวเส้นตรง
2. การเคลื่อนที่ในแนวเส้นเส้นตรง แต่มีการเคลื่อนที่กลับทิศด้วย เช่น รถแล่นไปข้างหน้าในแนวเส้นตรง เมื่อรถมีการเลี้ยวกลับทิศทาง ทำให้ทิศทางในการเคลื่อนที่ตรงข้ามกัน

ในขณะที่รถยนต์เริ่มเคลื่อนที่บนถนนตรง คนขับจะเหยียบคันเร่งทำให้รถเคลื่อนที่เร็วขึ้น ถ้าสังเกตที่เข็มวัดอัตราเร็วบนหน้าปัดของรถ จะพบว่าเข็มเบนมากขึ้น แสดงว่ารถเคลื่อนที่ด้วย อัตราเร็ว (speed) เพิ่มขึ้น และถ้าพิจารณาทิสของการเคลื่อนที่ด้วย ความเร็ว (velocity) เพิ่มขึ้น ดังรูป

1436350684

เมื่ออ่านค่าจากเข็มชี้อัตราเร็วของรถที่กำลังเคลื่อนที่ในภาพ ขณะนี้รถเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมงหรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ไปทางทิศใต้ หากความเร็วของรถเปลี่ยนแปลง กล่าวได้ว่ารถเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง (acceleration) การเข้าใจปริมาณต่างๆที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ จะทำให้มีความปลอดภัยมากขึ้นในการขับขี่ยวดยานพาหนะ และนำไปใช้ประโยชน์ด้านต่างๆได้

การเคลื่อนที่แนวตรง

66
อบรม Arduino  พื้นฐาน
​Arduino เป็นบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ขนาดเล็ก ด้วยการเสียบ USB เพื่อเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ของคุณและจำนวนของซ็อกเก็ตที่สามารถเชื่อมต่อแบบมีสาย ขึ้นอยู่กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ภายนอกเช่นมอเตอร์, รีเลย์เซ็นเซอร์แสงเลเซอร์ไดโอด, ลำโพง,ไมโครโฟน ฯลฯ พวกเขาก็จะสามารถขับเคลื่อนผ่านการเชื่อมต่อ USB จากคอมพิวเตอร์หรือจากแบตเตอรี่ 9V. พวกเขาสามารถควบคุมได้จากคอมพิวเตอร์หรือโปรแกรมโดยคอมพิวเตอร์และแล้วตัดการเชื่อมต่อและรับอนุญาตให้ทำงาน อิสระ
​ที่มาของ Arduino นั้นเกิดที่ Ivrea ปฏิสัมพันธ์ออกแบบสถาบันเป็นเครื่องมือที่ง่ายสำหรับการสร้างต้นแบบอย่างรวดเร็วมุ่งเป้าไปที่นักเรียนที่ไม่มีพื้นฐานในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และการเขียนโปรแกรม. เร็วที่สุดเท่าที่มันจะมาถึงชุมชนที่กว้างขึ้นบอร์ด Arduino เริ่มต้นการเปลี่ยนแปลงเพื่อปรับให้เข้ากับความต้องการและความท้าทายใหม่ ความแตกต่างของข้อเสนอจากบอร์ด 8 บิตที่เรียบง่ายกับผลิตภัณฑ์สำหรับการใช้งาน IOT, สวมใส่, การพิมพ์ 3 มิติและสภาพแวดล้อมที่ฝังตัว. ทุกกระดาน Arduino จะสมบูรณ์เปิดแหล่งที่มาเพิ่มขีดความสามารถให้ผู้ใช้สามารถสร้างพวกเขาเป็นอิสระและในที่สุดก็ปรับให้เข้ากับความต้องการเฉพาะของพวกเขา. ซอฟแวร์ ก็เป็นโอเพนซอร์สและก็มีการเติบโตผ่านการมีส่วนร่วมของผู้ใช้ทั่วโลก
​Arduino คืออะไร?
​แม้ว่า Arduino คือการออกแบบเปิดแหล่งที่มาสำหรับบอร์ดอินเตอร์เฟซไมโครคอนโทรลเลอร์เป็นจริงค่อนข้างยิ่งไปกว่านั้นในขณะที่มันครอบคลุมซอฟแวร์เครื่องมือในการพัฒนาที่คุณจำเป็นต้องเขียนโปรแกรมบอร์ด Arduino เช่นเดียวกับคณะกรรมการของตัวเอง. มีชุมชนขนาดใหญ่ของการก่อสร้าง, การเขียนโปรแกรมอิเล็กทรอนิกส์และแม้กระทั่งผู้ที่ชื่นชอบงานศิลปะยินดีที่จะแบ่งปันความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ของพวกเขาในอินเทอร์เน็ตที่จะเริ่มใช้ Arduinoแรกไป Arduinoเว็บไซต์ (www.arduino.cc) และดาวน์โหลดซอฟแวร์สำหรับ Mac, PC หรือ LINUX
​ถึงอย่างไร Arduino ก็เป็นคอมพิวเตอร์ทางกายภาพโอเพนซอร์สแพลตฟอร์มบนพื้นฐานของอินพุต / เอาต์พุตที่เรียบง่าย(I / O) คณะกรรมการและการพัฒนาสภาพแวดล้อมที่ใช้ภาษาการประมวลผลWww.processing.org). Arduino สามารถนำมาใช้การพัฒนาวัตถุโต้ตอบแบบสแตนด์อโลนหรือสามารถเชื่อมต่อกับซอฟแวร์ของคุณคอมพิวเตอร์ (เช่น Flash, การประมวลผล VVVV,หรือแม็กซ์ / MSP). บอร์ดสามารถประกอบด้วยมือหรือซื้อ preassembled นั้นมาเปิด IDE (การพัฒนาแบบบูรณาการสิ่งแวดล้อม) สามารถดาวน์โหลดได้ฟรีจาก www.arduino.cc
​หัวข้อโปรเจค Arduino
QuickstartPowering Up
Installing the Software
Configuring Your Arduino Environment
Downloading the Project Software
Project 1 Flashing LED
Breadboard
A Tour of Arduino
Microcontrollers
LED Projects
Loops
Arrays
Sensor Projects
Light Projects
Sound Projects
Power Projects

​ทำไมต้อง Arduino?
ราคาไม่แพง
Cross-platform – The Arduino Software (IDE) runs on Windows, Macintosh OSX, and Linux operating systems
Simple, clear programming environment
Open source and extensible software
Open source and extensible hardware

http://mahosot.weebly.com/arduino.html

67


หลักการและเหตุผลในการอบรม arduino
     ในปัจจุบันอุปกรณ์หรือเครื่องมือสมัยใหม่ได้นำเทคโนโลยีระบบสมองกลฝังตัว (Embedded System) เข้ามาใช้ควบคุมการทำงานทำให้ได้อุปกรณ์ต่างๆ สามารถประมวลผลและควบคุมการทำงานที่มีความซับซ้อนได้ ระบบสมองกลหรือคอมพิวเตอร์ที่อยู่ภายในอุปกรณ์มีหลักการทำงานเหมือนเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งคือประกอบด้วย ส่วนฮาร์ดแวร์ของหน่วยประมวลผลโดยใช้ไมโครโพรเซสเซอร์หรือไมโครคอนโทรลเลอร์ ส่วนซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมการทำงานที่ได้โปรแกรมไว้ โดยมุ่งเน้นสำหรับการเรียนรู้การพัฒนาระบบสมองกลฝังตัว และสามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้จริง ดังนั้น ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร จึงได้จัดทำหลักสูตรการอบรม “การประยุกต์ใช้งานบอร์ด Arduino กับ Sensor และอุปกรณ์หลายชนิด” โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนากำลังคนให้มีทักษะและความเชี่ยวชาญด้านสมองกลฝังตัวเพื่อตอบสนองและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับอุตสาหกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ของประเทศต่อไปในอนาคต โดยการอบรมดังกล่าวจะมีทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติการด้วยการใช้งานบอร์ด Arduino และเขียนโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ โดยใช้ภาษา Arduino

วัตถุประสงค์ในการสอน arduino
1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเข้าใจถึงหลักการทำงานของบอร์ด Arduino

 2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถเขียนโปรแกรม Arduino ควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ ได้

 3. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถประยุกต์ใช้งานบอร์ด Arduino ในการทำงานจริงได้

หัวข้อการฝีกอบรม สอน arduino
1. ทำความรู้จักกับบอร์ด Arduino

 2. การเขียนโปรแกรมใช้งานฟังก์ชั่นอินพุตเอาต์พุตดิจิตอล (Digital I/O)

 3. การเขียนโปรแกรมฟังก์ชั่นอินพุตเอาต์พุตอนาล็อก (Analog I/O)

 4. การสื่อสารผ่านพอร์ตอนุกรม (Serial Port)

 5. การเขียนโปรแกรมใช้งานฟังก์ชั่นอินเตอร์รัพท์ (Interrupt)

 6. การเขียนโปรแกรมเขียนและอ่านค่าจาก EEPROM

 7. การเขียนโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ เช่น LED, รีเลย์ (Relay), มอเตอร์ (Motor), เซ็นเซอร์อินฟราเรด (IR) เซอร์โวมอเตอร์ (Servo Motor), ทรานซิสเตอร์ (Transistor), ตัวต้านทานแปลค่าตามแสง (LDR)

 8. การเขียนโปรแกรมติดต่อสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่าย Internet ด้วย Ethernet Shield

 9. การเขียนโปรแกรมติดต่อและดึงค่าจากกล้อง Pixy เพื่อใช้ในการควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เซอร์โวมอเตอร์

คุณสมบัติผู้เข้าอบรม arduino
1. มีความรู้ด้านพื้นฐานการเขียนโปรแกรม

 2. มีความรู้พื้นฐานด้านอิเล็กทรอนิกส์

รูปแบบการอบรม
บรรยาย+ปฎิบัติ

link : http://keil-cvi.com/%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A1-arduino/

หน้า: 1 ... 3 4 [5]